TiMe

Get this widget | Track details | eSnips Social DNA

ฟังวิทยุออนไลน์ ที่ izeemusic

ฟังวิทยุออนไลน์ ที่ izeemusic

วันศุกร์ที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2552

ลูกแรดเตรียมพร้อมล่าเหยื่อ

สิ่งที่ได้รับจากการเรียน
วิชาเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

ในครั้งที่ 1 เป็นการกล่าวถึงเกณฑ์การให้คะแนน ในรายวิชาว่ามีเกณฑ์เช่นไร และในครั้งแรกนี้เราก็ต้องเริ่มเรียนรู้ที่จะปรับตัว เข้าสู่สังคมที่กว้างขึ้นเพราะ ต้องเรียนด้วยกันหลายตอนเรียน

ในครั้งที่ 2 เป็การเรียนเกี่ยวกับเรื่องการประกันคุณภาพ โดยความหมายเป็นการดำเนินงานตามมาตรฐาน หรือระบบที่สร้างความมั่นใจ พึงพอใจ ต่างๆ เปรียบเสมือนกับว่าการที่เราจบจาก มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ไปแล้วนักศึกษาย่อมต้องมีประสิทธิภาพและพร้อมที่จะออกไปสู่สังคมภายนอกได้อย่าง ภาคภูมิใจ

ตามปรัญญา ผู้เชี่ยวชาญศาสตร์ธุรกิจ มุ่งผลิตบัญฑิตสู่สังคม

ในครั้งที่ 3 เป็นการเรียนรู้ถึงการมีคุณธรรม จริยธรรม หมายถึง การประพฤติปฎิบัติที่ดีงามทั้งกาย วาจาและใจโดยเป็นผลดีแก่ตัวเองและต่อผู้อื่น และในการปลูกฝังนี้ควรเริ่มตั้งแต่ สภาบันครอบครัวซึ่งถือ เป็นสถาบันแรกที่ควรให้ความสำคัญเป็นอย่างมาก เพราะถ้าในครอบครัวได้รับการอบรมสั่งสอนเป็นอย่างดีแล้ว จะทำให้บุคคลผู้นั้น สามารถปรับตัวเข้ากับสังคมได้

ในครั้งที่ 4 เป็นการเรียนรู้การบริหารการเงิน โดยในการบริหารเงินนั้น เราต้องสามารถคิดว่า ในการที่เราจะใช้จ่ายต่างๆ นั้น เราสามารถใช้อย่างจำกัดเท่าใดและควรเหลือเก็บไว้ออม และสำรองฉุกเฉินเท่าใด

เพราะ คนเรานั้นทุกคนเกิดมาพร้อมกับภาระ ทุกการเดินทางรองรับด้วย รายได้

ในครั้งที่ 5 เป็นการเรียนรู้การพัฒนาบุคลิกภาพ บุคลิกภาพของแต่ละคนนั้นจะแตกต่างกัน และสามารถที่จะปรับปรุงให้ดีขึ้นได้ นักศึกษาควรมีคุณลักษณะคือ บุคลิกดี มีน้ำใจ ใฝ่หาความรู้ เชิดชูองค์การ สมานสามัคคี

โดยปกติทุกคนมักจะคิดว่าเป็นเรื่องยากที่จะทำให้มีบุคคลิกภาพดี แต่แท้จริงนั้นการที่จะทำให้บุคคลิกภาพดีนั้นไม่ได้เป็นเรื่องที่ยาก เพียงแต่คุณต้องพยายามที่จะปรับปรุงตัวคุณเองเท่านั้น

ในครั้งที่ 6 เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับแขนงคอมพิวเตอร์ ว่าในปัจจุบันนี้เทคโนโลยีการติดต่อสือสาร ได้ก้าวกระโดดไปอย่างรวดเร็ว โดยที่เราไม่สามารถที่จะคาดเดาว่าจะมีอะไรให้เกิดขึ้นมาใหม่ๆได้

Business Intelligence ทำให้ผู้ใช้งานสามารถเลือกใช้งานเทคโนโลยีต่างๆ ให้เหมาะสมกับองค์กรณ์ของตนเองได้

ในครั้งที่ 7 เรียนเรื่อง วัฒนธรรมข้ามชาติ ซึงเป็นการแนะนำเกี่ยวกับว่าแต่ละชนชาตินั้น มีวัฒนธรรมที่แตกต่างกันซึ่งถ้าเรามีโอกาสที่จะเข้าไปประกอบธุรกิจ หรือไปท่องเที่ยว เราจะสามารถนำความรู้ทางด้านนี้เพื่อช่วยในการปรับตัวเข้ากับสังคมใหม่ได้ ซึ่งก็ คือ การเปิดใจกว้างเปิดใจยอมรับต่อวัฒนธรรมต่างๆ อาทิเช่น ในประเทศญี่ปุ่น จะเป็นชาติที่พูดอ้อมค้อมไม่พูดตรงๆ การแต่งกายควรแต่งกายควรเป็นสีดำ คือเป็นสีมงคล และจำเป็นต้องดื่มเหล้าในการพูดคุย ซึ่งถือว่าให้ความสำคัญกับเรื่องเหล้ามาก "คัมไป"

ในครั้งที่ 8 เกี่ยวข้องกับการตลาดซึ่งมีวิทยากร มาให้ความรู้เกี่ยวกับการประกอบอาชีพ "เส้นทางสู่ความสำเร็จ" ซึ่งมีการแนะนำให้รู้จักการคิดให้แตกต่างผู้อื่น รู้จักคิดเป็น กระบวนการสู่ความสำเร็จ (The Achievement Process) จำเป็นที่จะต้องมี

ความฝัน (Dream)

เป้าหมาย (Golds)

การวางแผน (Planning)

การกระทำ (Action)

ความเชื่อ (Believe)

เราต้องอย่ายอมแพ้จนกว่าเราจะพบความสำเร็จ เหรียญมี 2 ด้านซักวันมันออกต้องแตกต่างกัน

ในครั้งที่ 9 เป็นเรื่องการใช้ภาษาไทยในชีวิตประจำวัน ซึ่งเป็นการบอกความหมายของภาษาและประเภทของภาษาว่า มี วัจนภาษา อวัจนภาษา

ซึ่งถืเป๋นการสื่อความหมายทั้งสิ้น และในการที่จะติดต่อสื่อสารกับใครนั้น เราจำเป็นต้องรู้ด้วยว่า เราควรใช้ภาษากับคนผู้นั้นอย่างไร

ในครั้งที่ 10 ปัจฉิมนิเทศ ถือเป็นสัปดาห์สุดท้ายของการเรียน มีคณะของพระอาจารย์สมปองมาเทศให้ฟังในหัวข้อ "สุขกันเถอะโยม" พระอาจารย์ท่านได้เล่าให้ฟังเกี่ยวกับครอบครัว ครอบครัวหนึ่ง ซึ่งลูกมาทำงานที่กรุงเทพฯ โดยเก็บหอมรอมริบเพื่อจะซื้อบ้านให้แม่ และก็ไม่ได้กลับไปหาแม่เลย วันหนึ่งชายหนุ่มคนนั้น กลับไปหาแม่ แต่เวลาก็ได้เลยผ่านมานานมาก จนแม่ของตนนั้นสิ้นรม พระอาจารย์ท่านเลยสอนว่า เราควรให้ความสำคัญ กับพ่อแม่ ของเราให้มากกว่า คนอื่น มิเช่นนั้นแล้ว ถ้าท่านจากไปแล้วเราจะไม่สามารถ ย้อนเวลากลับไปได้

สรุปเนื้อหาและความรู้ที่ได้จากการเรียน

สอนให้เรารู้จักการปรับตัวให้เข้ากับผู้อื่นในสังคม

สอนให้เรารู้จักการตรงต่อเวลาและการแต่งกายเข้าทำงานและระเบียบต่างๆ

และอย่างอื่นอีกมากกมาย ที่เราไม่เคยรู้

DtS 11-9/9/52

สรุป กราฟ

DtS 10-2/9/52

สรุปทรี ต่อ

วันพฤหัสบดีที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2552

DtS 9-26/8/52

สรุป ทรี (Tree)

เป็นโครงสร้างข้อูลที่มีความสัมพันธ์ระหว่างโหนด จะมีความสัมพันธ์ลดหลั่นกันไปเป็นลำดับขั้น (Hierarchical Relationship)โดยแต่ละโหนดจะมีความสัมพันธ์กับโหนดในระดับที่ต่ำลงมา หนึ่งระดับได้หลายๆ โหนด เรียกโหนดดังกล่าวว่า โหนดแม่ Parent or Mother Nodeโหนดที่อยู่ต่ำกว่านั้นเรียกกว่า โหนดลูก Child or Son Nodeโหนด ที่อยู่ระดับสูงสุดและไม่มีโหนดแม่ เรียกว่า โหนดราก Root Nodeโหนดที่มีโหนดแม่เป็นโหนดเดียวกัน เรียกว่า Siblingsโหนดที่ไม่มีโหนดลูก เรียกกว่า โหนดใบ Leave Nodeเส้นเชื่อมแสดงความสัมพันธ์ระหว่างสองโหนด เรียกกว่า กิ่ง Branch นิยามที่เกี่ยวข้องกับทรี

1.ฟอร์เรสต์ (Forest)

2.ทรีที่มีแบบแผน (Ordered Tree)

3.ทรีคล้าย (Similar Tree)

4. ทรีเหมือน (Equivalent Tree)

5.กำลัง (Degree)

6.ระดับของโหนด (Level of Node)

ไบนารี่ทรี (Binary Tree) คือ แต่ละโหนดมีลูกได้ไม่เกิน 2 หรือ มีโหนดย่อยไม่เกิน 2 โหนด

DtS 8-19/8/52

สอบ กลางภาค

วันพฤหัสบดีที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2552

DtS 7-12/8/52

หยุด วันแม่

DtS 6-29/7/52

สรุปเนื้อหา คิว(Queue) คิวเป็นโครงสร้างชนิดแบบเชิงเส้นหรือที่เรียกกันว่า แบบลิเนียร์ลิส และเวลาจะทำการเพิ่มข้อมูลเข้าไปจะกระทำที่ปลายข้างหนึ่งที่เรียกกว่าส่วนท้ายหรือเรียร์ (rear) และถ้าจะนำข้อมูลออกจะกระทำอีกปลายข้างหนึงที่เรียกกว่า ส่วนหน้าหรือ ฟอร์น(font)
ลักษณะการทำงานของคิวจะเป็นแบบเข้าก่อนออกก่อนหรือ ที่เรียกว่า FIFO (Frist In Frist Out)






การทำงานของคิว
1.การใส่สมาชิกเข้าไปในคิว Enqueue = การนำเข้าส่วนท้าย
2.การนำสมาชิกออกจากคิว Dequeue = การนำออกจากส่วนหน้า
การนำข้อมูลที่อยู่ตอนต้น มาแสดงจะเรียกว่า Queue Front แต่จะไม่เอาข้อมูลออกจากคิวเลย
การนำข้อมูลที่อยู่ตอนท้าย มาแสดงจะเรียกกว่า Queue Rear แต่จะไม่ทำการเพิ่มข้อมูลเข้าไปในคิว

การแทนที่ข้อมูลของคิว มี 2วิธี
1.การแทนที่ข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์
2.การแทนที่ข้อมูลแบบอะเรย์

การดำเนินการเกี่ยวกับคิว
1.Create Queue = เป็นการสร้างพื้นที่ให้กับคิว
2.Enqueue = เป็นการเพิ่มข้อมูลเข้าไปในคิว
3.Dequeue = เป็นการนำข้อมูลออกจากคิว
4.Queue Front = การนำข้อมูลที่อยู่ตอนต้น มาแสดง
5.Queue Rear = การนำข้อมูลที่อยู่ตอนท้าย มาแสดง
6.Empty Queue = เป็นการตรวจสอบว่าคิวว่างหรือไม่
7.Full Queue = เป็นการตรวจสอบว่าคิวเต็มหรือไม่
8.Queue Count = เป็นการนับสมาชิกที่อยู่ในคิว
9.Destroy Queue = เป็นการลบข้อมูลทั้งหมดในคิว


วันอังคารที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

สแตกในชีวิตประจำวัน

สแตกคือการนำสิ่งที่เข้าไปทีหลังออกมาก่อน (Last in First out) "LIFO" หรือ "เข้าหลังออกก่อน"
1.การปริ้นของเครื่องปริ้น คือ หน้ากระดาษที่สั่งคำสั่งปริ้น สมมติ มี 10หน้า ในส่วนของ"หน้าที่10" จะออกมาก่อนและเรียงลำดับไปจนถึง "หน้าที่1"

Dts 5-22/7/52

สรุป สแตก
ลักษณะที่สำคัยของสแตกคือ ข้อมูลที่เราใส่หลังสุดจะถุกนำออกมาเป็นลำดับแรกสุด เรียกคุณสมบัตินี้เรียกว่า
LIFO(Last in First out) ก
ารทำงานของสแตกจะประกอบไปด้วย 3กระบวนการคือ
1. Push คือ การนำข้อมูลใส่ลงไปในสแตกและต้องทำการตรวจสอบว่าสแตกเต็มหรือไม่
2. Pop คือ การนำข้อมูลออกจากส่วนบนสุด
3. Stack Top คือ เป้นการคัดลอกข้อมูลที่อยู่บนสุดของสแตก แต่ไม่ได้นำเอาข้อมูลนั้นออกจากสแตก

ตัวอย่างการ Push Stack

DtS 4-22/7/52



สรุป ลิ้งลิสต์
กระบวนการทำงาน Traverse = หน้าที่ เยือนหรือท่องไปในลิสต์เพื่อเข้าถึงและประมวลผล
กระบวนการทำง่น Retrieve Node = คือทำหน้าที่เรียกคืนและหาตำแหน่งข้อมูลจากลิสต์
ฟังก์ชั้น Empty List เป็นการทดสอบว่าข้อมูลที่นำเข้า ถ้าเป็นจริง ก็ต่อเมื่อลิสต์ว่าง และท้าเป็นเท็จ ก้อต่อเมื่อลิสต์ไม่ว่าง
ฟังก์ชั่น Full List เป็นการทดสอบว่าลิสต์เต็มหรือไม่
ฟังก์ชั่น List Count นับจำนวณข้อมูลที่อยู่ในลิสต์
กระบวนงาน Destroy list ก็คือทำลายลิสต์



ตัวอย่าง Create









ตัวอย่าง delete

ฟังก์ชัน < stdio.h > และ < iosteam.h > ในการเขียนสูตรคูณ

แบบใช้ stdio.h
#include"stdio.h"
#include"conio.h"
void main()
{
int num1,num2;
clrscr();
printf("Please enter integer number : \n");
printf("First number : ");
scanf("%d",&num1);
printf("Second number : ");
scanf("%d",&num2);

if (num1>num2)
{

printf("Number");
printf("\nFirst number is : %d",num1);
printf("\nSecond number is : %d",num2);
printf("\nFirst number is greater than second number\a\n");
getch();
}
else
{
printf("\n\n****************************\n");
printf("****************************\n");
printf("****************************\n");
printf("Number");
printf("\nFirst number is : %d",num1);
printf("\nSecond number is : %d",num2);
printf("\nSecond number is greater than or equal first number\a\n");
}
getch();
}



แบบ iosteam.h
#include
#include
void main()
{
int num1,num2;
clrscr();
cout<< "Please enter integer number : \n";
cout<< "First number : ";
cin>>num1;
cout<< "\nSecond number : ";
cin>>num2;

if (num1>num2)
{

cout<<"Number :";
cout<<"\nFirst number is : "<< num1;
cout<<"\nSecond number is : "<< num2;
cout<<"\nFirst number is greater than second number\a\n";
getch();
}
else
{

cout<<"You enter 2 number :";
cout<<"\nFirst number is : "<< num1;
cout<<"\nSecond number is : "<< num2;
cout<<"\nSecond number is greater than or equal first number\a\n";
}
getch();
}

วันเสาร์ที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

DtS 3-1/7/52

สรุป Pointer เป็นตัวแปรชนิดหนึ่งที่ทำหน้าที่เก็บตำแหน่งของที่ อยู่(Address) ของตัวแปรที่อยู่ในหน่วยความจำ
รูปแบบของมันก็จะมีลักษณะ Type *variable-name คือ Type = ชนิดของตัวแปร // ส่วน * = เป็นเครื่องหมายที่แสดงว่าตัวแปรที่ตามหลังเครื่องหมายนี้เป็นตัวแปรพ้อยเตอร์ //variable-name = เป็นตัวแปรที่ประกาศว่าเป็นชนิดพ้อยเตอร์

ตัวอย่างเช่น count100 Address2000 คือณ ตำแหน่งที่2000 countมีค่าเท่ากับ100
สตริง (String)หรือสตริงของอักขระ (Character String) เป็นข้อมูลที่ประกอบไปด้วย ตัวอักษร อักขระ ตัวเลข
ความยาวของสตริง จะถูกกำหนดโดยขนาดของสตรีง ต้องจองเนื้อที่ให้กับ(\0) ด้วย
การกำหนดค่าให้กับสตริงนั้นให้ใช้เครื่องหมาย Double quote("")
ถ้าสมมุติต้องการสตริงสำหรับข้อมูลยาวไม่เกิน10อัขระต้องกำหนดขนาดอะเรย์11ช่อง เพื่อเก็บ null character(\0) ด้วย

แบบฝึกหัด ท้ายบทที่2
1.ให้นักศึกษากำหนดค่าของ Array1มิติ และ Array2มิติ
ตอบ ตัวอย่าง Array 1 มิติ

#include "stdio.h"
#include "conio.h"
main()
{
int a[3];
clrscr();
a[0] = 1;
a[1] = 5;
a[2] = 2;
printf("a[0] = %d\n",a[0]);
printf("a[1] = %d\n",a[1]);
printf("a[2] = %d\n",a[2]);
}

ตัวอย่าง Array 2 มิติ
Array 2 มิติ
พิจราณาตารางที่ 2 ซึ่งแสดงจำนวนของนักศึกษาในชั้นปีต่างๆ ของคณะ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ อักษรศาสตร์ รัฐศาสตร์ และบัญชี ข้อมูลในตารางดังกล่าว จะต้องใช้กับ Array 2 มิติ

ตารางที่ 2 จำนวนนักศึกษาของคณะต่างๆ
คณะ ชั้นปี
1 2 3 4
วิทยาศาสตร์ 200 175 175 175
วิศวกรรมศาสตร์ 400 390 385 385
อักษรศาสตร์ 150 150 150 150
รัฐศาสตร์ 100 100 98 98
บัญชี 200 200 195 195

#include "stdio.h"
#include "stdlib.h"
#include "conio.h"
main()
{
char student[4];
int num_student[5][4],i,j;
char fac[20];
clrscr();
for(i=0;i<=4;++i){ printf("Faculty : "); gets(fac); for(j=0;j<=3;++j){ printf("student[%d][%d] = ",i,j); gets(student); num_student[i][j] = atoi(student); } } } 2.ให้นักศึกษาหาค่าของ A[2],A[6]จากค่า A={2,8,16,24,9,7,3,8} ตอบ
A[2]= 16, A[6]= 3

3.จากค่าของ int a[2][3]={{6,5,4},{3,2,1}};ให้นักศึกษา หาค่าของ a[1][0]และ a[0][2]
ตอบ
a[1][0] = 3, a[0][2]= 4

4.ให้นักศึกษากำหนด Structure ที่มีค่าของข้อมูลจากน้อย 6 Records
ตอบ
#include"stdio.h"
struct Data Student
{
char name[];
char surname[10];
char lastname;
int age;
int id;
int junior;
}data_s;
void input_data()
{
printf("Data Student\n");
printf("Name :");
scanf("%s",&data_s.name);
printf("surname: ");
scanf("%s",&data_s.surname);
printf("Last Name");
scanf("%s",&data_s.lastname);
printf("Age : ");
scanf("%d",&data_s.age);
printf("Id: ");
scanf("%d",&data_s.id);
printf("Junior :");
scanf("%d",&data_s.junior);

}
void show_data()
{
printf("\n\nData you\n");
printf("Name is %s\n",data_s.name);
printf("Sur Name is %s\n",data_s.surname);
printf("Lastname is %s\n",data_s.lastname);
printf("Age is %d\n",data_s.age);
printf("Id is %d\n",data_s.id);
printf("Junior is %d\n",data_s.junior);
printf("Thank You Student so cute!!");
}
main()
{
input_data();
show_data();
}

5.ให้นักศึกษาบอกความแตกต่างของการกำหนดตัวชนิด Array กับ ตัวแปร Pointer ในสภาพของการกำหนดที่อยู่ของข้อมูล
ตอบ
ความแตกต่างระหว่างตัวแปร Array และ Pointer คือตัวแปรArrayชุดที่ใช้เก็บตัวแปรชนิดเดียวกันไว้ด้วยกัน เช่น เก็บ ข้อมูล char ไว้กับ char เก็บ int ไว้กับ int ไม่สามารถเก็บข้อมูลต่างชนิดกันได้ เช่น char กับ int เรียก array อีกอย่างว่าหน่วยความจำแบ่งเป็นช่อง การกำหนดสมาชิกชิกของ array จะเขียนภายในเครื่องหมาย [ ]
แต่ ตัวแปรพอยเตอร์จะเก็บเฉพาะค่าตำแหน่ง Address ตัวแปรเท่านั้นและดัชนีที่ เก็บค่าตำแหน่งแอดเดรสของหน่วยความจำ ซึ่งตัวแปรพอยเตอร์นั้น จะมีเครื่องหมายดอกจันทร์ (*) นำหน้าเสมอ

วันเสาร์ที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2552

DtS 2-24/6/52

วันนี้เรียนเรื่อง Arrayเป็นโครงสร้างข้อมูลที่เรียกว่า Linear List มีลักษณะคล้อยเซ็ต และการประกาศตัวปปรในภาษาคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่จะใช้ ภาษาปาสคาลและภาษาซี และได้รู้เดียวกับว่าชนิดของ อะเรย์ว่ามีอะไรบ้าง
Struture คือ โครงสร้างที่สมาชิกแต่ละตัวมีประเภทข้อมูลแตกต่างกันได้ โดยอาจมีสมาชิกเป็นจำนวณเต็ม จำนวณจริง ทศนิยม

ตัวอย่าง Structure 8 elemnt
เกี่ยวกับข้อมูลลูกค้าในการเข้าเล่นในร้าน InterNet_Cafe'


#include"stdio.h"
struct internetcafe
{
char name[10];
char sex[10];
int age;
int date;
int month;
int year;
int num;
float start;
float stop;
}net_c;
void input_data()
{
printf("Internet Customer\n");
printf("Name :");
scanf("%s",&net_c.name);
printf("Sex: ");
scanf("%s",&net_c.sex);
printf("Age: ");
scanf("%d",&net_c.age);
printf("Date/Month/Year :");
scanf("%d/%d/%d",&net_c.date,&net_c.month,&net_c.year);
printf("Computer Number is you play :");
scanf("%d",&net_c.num);
printf("Start Game :");
scanf("%f",&net_c.start);
printf("Stop Game :");
scanf("%f",&net_c.stop);
}
void show_data()
{
printf("\n\nData you\n");
printf("Name is %s\n",net_c.name);
printf("Sex is %s\n",net_c.sex);
printf("Age is %d\n",net_c.age);
printf("Date %d - %d - %d\n",net_c.date,net_c.month,net_c.year);
printf("Computer Number is %d\n",net_c.num);
printf("Start Game is %.2f\n",net_c.start);
printf("Stop Game is %.2f\n",net_c.stop);
printf("Thank You Customer so cute!!");
}
main()
{
input_data();
show_data();
}

วันพุธที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2552

DtS 1-17/6/52

อาจารย์ มาแนะนำการแต่งตัวเข้ามาเรียนใน มหาวิทยาลัยว่าควรแต่งการอย่างไร และให้ถูกต้องตามระเบียบ
อธิบายราชวิชา ว่าความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูล และบอกเกี่ยวกับเกณฑ์การให้คะแนน และเรื่อง เกรด

ประวัติ


ชื่อ :: นายอภิวัฒน์ สุธรรมสาโรช ชื่อเล่น :: บี Bee
Name :: MR.Apiwat Sutamsaroj
รหัสนักศึกษา :: 50152792053
อายุ :: 20 ปี
ปัจจุบันศึกษาอยู่ที่ :: มหาวิทยาลัยราชฎัชสวนดุสิต คณะวิทยาการจัดการ หลักสูตรการบริหารธุรกิจ
แขนงคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
Email :: u50152792053
Tel. :: 088-089-2367